2024.03.18 (월)

  • 맑음동두천 -1.0℃
  • 맑음강릉 2.0℃
  • 맑음서울 2.7℃
  • 맑음대전 1.0℃
  • 맑음대구 3.6℃
  • 맑음울산 5.3℃
  • 맑음광주 2.8℃
  • 맑음부산 6.7℃
  • 맑음고창 -0.7℃
  • 맑음제주 7.2℃
  • 맑음강화 1.6℃
  • 맑음보은 -2.6℃
  • 맑음금산 -1.4℃
  • 구름조금강진군 3.8℃
  • 맑음경주시 1.6℃
  • 맑음거제 5.1℃
기상청 제공

태국어

ตั้งแต่ปี 2023 จะใช้ “ระยะเวลาการบริโภค” แทน “วันหมดอายุ”

2023년부터 ‘유통기한’이 아닌 ‘소비기한’으로

845908604856.jpg

 

ข้อแตกต่างระหว่าง “ระยะเวลาการบริโภค” และ “วันหมดอายุ” ?


วันหมดอายุหมายถึง ตั้งแต่วันที่ผลิต ถึง วันสุดท้ายที่สามารถขายสินค้าให้กับผู้บริโภค อาหารที่จัดเก็บและจัดการอย่างเหมาะสม ภายในระยะเวลาหนึ่ง หมายความว่าผู้บริโภคสามารถรับประทานได้อย่างมั่นใจ และผู้ผลิตมีหน้าที่รับผิดชอบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ 

เนื่องจากวันหมดอายุถูกกำหนดไว้ล่วงหน้าก่อนการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของอาหาร 60-70% จึงสามารถรับประทานได้นานขึ้นหากปฏิบัติตามเงื่อนไขในการเก็บรักษาเป็นอย่างดี 

วันหมดอายุถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในปี 1985 เป็นการกำหนดระยะเวลาให้ผู้ค้าปลีก ขายสินค้า และอาหารให้กับผู้บริโภค

วันหมดอายุหมายถึงช่วงเวลาที่ผู้บริโภคสามารถบริโภคอาหารได้ หรือกำหนดการที่ผู้บริโภคสามารถบริโภคผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยโดยไม่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ 

วันหมดอายุถูกกำหนดตามผลของการทดสอบการเปลี่ยนแปลงของจุลินทรีย์เมื่อสังเกตุเงื่อนไขตามวันหมดอายุของผลิตภัณฑ์


ข้อดีและข้อเสียของการเปลี่ยนกำหนดการบริโภคคืออะไร?


ระบบการติดฉลาก “กำหนดการบริโภค” จะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2023 คาดว่าการนำระบบการติดฉลากกำหนดการบริโภคมาใช้ จะช่วยให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 

ผู้เชี่ยวชาญคาดว่าเมื่อมีการแนะนำวันหมดอายุระยะเวลาของการบริโภคอาหารจะเพิ่มขึ้น 30% เมื่อเทียบกับวันหมดอายุ

การกำหนดการบริโภค จะเป็นประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม โดยการลดปริมาณอาหารที่ทิ้งเพราะวันหมดอายุผ่านไปแล้ว แม้ว่าจะเหลือวันหมดอายุไว้ และจะสามารถลดต้นทุนทางสังคมของเศษอาหารได้ นอกจากนี้ เนื่องจากระบบอาหารเป็นไปตามมาตรฐานสากล จึงเป็นประโยชน์สำหรับการส่งออก อาหารในประเทศไปต่างประเทศ 

การกำหนดการบริโภค อาหารที่เลยวันหมดอายุควรทิ้ง เพราะเป็นช่วงเวลาสูงที่สุดที่สามารถบริโภคอาหารได้ เมื่อมีการจัดเก็บอย่างเหมาะสม 

เพื่อให้อาหารปลอดภัย คุณต้องรู้วิธีเก็บรักษาอาหารแต่ละอย่าง และเก็บไว้ในตู้เย็น 0-1 องศา , จุดเยือกแข็ง -18 องศา, และ 1-35 องศาที่อุณภูมิห้อง




(한국어 번역)

한국다문화뉴스=시리판 시민기자ㅣ유통기한과 소비기한의 차이점은?

  

유통기한이란, 제품의 제조일로부터 소비자에게 제품을 판매할 수 있는 최종 기한을 의미합니다. 기간 내에 적정하게 보관하고 관리된 식품은 소비자가 안심하고 먹을 수 있으며 제조업체는 제품의 품질이나 안정성을 책임진다는 뜻입니다. 


유통기한은 식품의 품질변화 시점을 기준으로 60~70%까지 앞선 기간으로 설정되기 때문에 보관 조건을 잘 지켰다면 더 오래 먹을 수 있습니다.


유통기한은 유통업체 입장에서 식품 등의 제품을 소비자에게 판매하되 되는 최종 시한으로 1985년 도입되었습니다.

소비기한이란 소비자가 식품을 소비할 수 있는 기한을 말합니다. 해당 상품을 소비해도 소비자의 건강이나 안전에 이상이 없을 것으로 인정되는 소비의 최종 기한을 의미합니다.


소비기한을 기준으로 조건을 지켰을 때의 미생물 부패 변화 검사 결과에 따라 소비기한이 설정됩니다.


 

소비기한으로 변경 시 장단점은?


"소비기한" 표시제는 2023년 1월 1일부터 시행되는 제도입니다. 소비기한 표시제가 도입되면 경제적 이익과 환경에 도움이 될것으로 기대가 됩니다. 


전문가들은 소비기한 도입 시 음식물 섭취 가능 기간이 유통기한과 비교해 30% 정도는 늘어날 것으로 예상하고 있습니다.


소비기한이 남아있음에도 유통기한이 지났다는 이유로 폐기되던 음식물이 줄어들어 환경에 도움이 될 것이며, 음식물 폐기 시 발생하는 사회적 비용을 줄일 수 있게 됩니다. 또 국제 기준에 맞는 식품 제도로 국내 식품 해외 수출에도 도움이 됩니다.


소비기한 식품을 올바르게 유통, 보관했을 때 식품을 섭취할 수 있는 최대한의 기한이기 때문에 소비기한이 지난 식품은 폐기하는 것이 옳습니다. 


식품을 안전하게 유지하기 위해서는 반드시 식품별 보관방법을 숙지해야 하며 냉장기준 0~10도 냉동기준 영하 18도 이하, 실온기준 1~35도를 유지해야 합니다.