2024.04.12 (금)

  • 흐림동두천 1.0℃
  • 흐림강릉 1.3℃
  • 서울 3.2℃
  • 대전 3.3℃
  • 대구 6.8℃
  • 울산 6.6℃
  • 광주 8.3℃
  • 부산 7.7℃
  • 흐림고창 6.7℃
  • 흐림제주 10.7℃
  • 흐림강화 2.2℃
  • 흐림보은 3.2℃
  • 흐림금산 4.4℃
  • 흐림강진군 8.7℃
  • 흐림경주시 6.7℃
  • 흐림거제 8.0℃
기상청 제공

태국어

ระวังอาหารเป็นพิษจากโนโรไวรัสในหน้าหนาว... ก่อนรับประทานปลาและหอยต้องปรุงให้สุก

겨울철 노로바이러스 식중독 주의…어패류 등 완전히 익혀먹어야

 

จากการวิเคราะห์สถานะอาหารเป็นพิษโนโรไวรัสในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบผู้ป่วยรวม 245 ราย  โดยเฉพาะจำนวนผู้ป่วยอาหารเป็นพิษที่เกิดขึ้นตั้งแต่เดือนธันวาคม ฤดูหนาว จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดไปอยู่ที่ 102 ราย คิดเป็นประมาณร้อยละ 42 ของทั้งหมด

 

กระทรวงความปลอดภัยด้านอาหารและยาเรียกร้องให้ประชาชนปฏิบัติตามกฎป้องกันเช่นการจัดการสุขอนามัยส่วนบุคคลเพื่อป้องกันและแพร่กระจายอาหารเป็นพิษจากโนโรไวรัสซึ่งจะเพิ่มขึ้นในช่วงฤดูหนาวโนโรไวรัสเป็นไวรัสในลำไส้ที่ทำให้เกิดอาหารเป็นพิษเมื่อดื่มน้ำหรืออาหารที่ปนเปื้อน และสามารถอยู่รอดได้แม้ในอุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสสาเหตุหลักของอาหารเป็นพิษจากโนโรไวรัสคือปลาและหอยที่ยังไม่ปรุง รองลงมาคือผักและน้ำใต้ดิน

 

 อาหารเป็นพิษของโนโรไวรัสสามารถแพร่เชื้อผ่านการสัมผัสระหว่างบุคคล เช่น โดยการบริโภคอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อน (น้ำใต้ดิน)การอาเจียนของผู้ป่วยหรือมือที่ปนเปื้อน ดังนั้นในการป้องกัน จำเป็นต้องมีการจัดการด้านสุขอนามัยส่วนบุคคล การทำความสะอาด และการฆ่าเชื้ออย่างละเอียด โนโรไวรัสมีขนาดเล็กและยึดเกาะพื้นผิวได้ดี ดังนั้นเมื่อล้างมือ คุณควรล้างมือและหลังมือให้สะอาดด้วยน้ำไหลโดยใช้สบู่ เป็นเวลาอย่างน้อย 30 วินาที

 

และต้องต้มน้ำใต้ดินที่อาจปนเปื้อนโนโรไวรัสก่อนดื่มมีดและเขียงควรใช้แยกกันตามส่วนผสมเช่นเนื้อสัตว์ปลาและผักและอุปกรณ์ทำอาหารควรฆ่าเชื้อในน้ำเดือดหรือฆ่าเชื้อด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับภาชนะ ฯลฯ ผู้ที่มีอาการน่าสงสัย เช่น อาเจียนหรือท้องเสีย ไม่ควรทำการปรุงอาหาร และแนะนำให้งดเว้นจากการปรุงอาหารเป็นเวลา 2 ถึง 3 วัน แม้ว่าอาการจะหายดีแล้วก็ตาม

 

นอกจากนี้ หากสงสัยว่าติดเชื้อโนโรไวรัสให้ไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษา เนื่องจากการติดเชื้อมักเกิดจากการอาเจียนหรือน้ำลายของผู้ป่วยอาหารเป็นพิษจากโนโรไวรัสห้องน้ำที่จับประตู ฯลฯ

 

ควรฆ่าเชื้อด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อคลอรีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกและเด็กเล็กมีภูมิคุ้มกันต่ำและอาจติดเชื้อได้ง่ายดังนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องรักษาสุขอนามัยอย่างละเอียดในศูนย์รับเลี้ยงเด็กเพื่อป้องกันอาหารเป็นพิษจากโนโรไวรัส

 

 

 

(한국어 번역)

한국다문화뉴스 = 시리판 시민기자ㅣ최근 5년 동안 노로바이러스 식중독 발생 현황을 분석한 결과 모두 245건이 발생했다. 특히, 겨울철인 12월부터 이듬해 2월까지 발생한 식중독 건수는 102건으로 전체의 약 42%를 차지하는 것으로 나타났다.

 

식품의약품안전처는 겨울철에 발생이 증가하는 노로바이러스 식중독 예방과 확산을 방지하기 위해 개인 위생관리 등 예방수칙 준수를 당부했다.

 

노로바이러스는 오염된 물이나 음식물 등을 섭취할 경우 식중독을 일으키는 장관계 바이러스로 영하 20도에서도 생존 가능하다.

 

노로바이러스 식중독 발생의 주요 원인 식품은 익히지 않은 어패류가 가장 높은 비율을 차지했으며 채소류와 지하수가 뒤를 이었다.

 

노로바이러스 식중독은 오염된 음식과 물(지하수)을 섭취했거나 환자의 구토물, 오염된 손 등 사람 간 접촉으로 감염될 수 있으므로 예방을 위해서는 개인위생 관리와 세척·소독 등을 철저히 해야 한다.

 

노로바이러스는 입자가 작고 표면 부착력이 강하므로 손을 씻을 때는 비누 등 세정제를 이용해 흐르는 물에 30초 이상 손가락, 손등까지 깨끗하게 씻어야 한다.

 

또한, 어패류는 중심 온도 85℃에서 1분 이상 완전히 익혀야 하며 노로바이러스 오염 가능성이 있는 지하수는 반드시 끓여 마셔야 한다.

 

칼·도마는 육류, 생선, 채소 등 식재료에 따라 구분해 사용하고 조리 기구는 열탕 소독하거나 기구 등의 살균소독제로 소독 후 세척해야 한다.

 

구토·설사 등 의심 증상이 있는 사람은 조리에 참여하지 않도록 하고, 증상이 회복된 후에도 2~3일 동안은 조리에서 배제하는 것이 바람직하다.

 

아울러 노로바이러스 감염이 의심될 경우 의료기관을 방문해 진료를 받도록 하고 노로바이러스 식중독 환자의 구토물, 침 등에 의해 감염되는 경우가 많으므로 화장실, 문손잡이 등은 염소 소독제로 소독해야 한다.

 

특히, 영유아의 경우 면역력이 낮아 쉽게 감염될 수 있으므로 어린이집에서는 노로바이러스 식중독이 발생하지 않도록 철저한 위생관리를 하는 것이 중요하다.